บทความ

ประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2566)

ด้านที่ 1 การบริหารจัดการ

หน่วยที่ 1 แผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนชุมชน

หน่วยย่อยที่ 1 แผนพัฒนาท้องถิ่น

ตัวชี้วัดที่ 1 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีการนำโครงการพัฒนาท้องถิ่นนำไปจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีในภาพรวมที่นำไปดำเนินการจัดทำบริการสาธารณะ หรือกิจกรรมสาธารณะ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

หน่วยย่อยที่ 2 แผนชุมชน

ตัวชี้วัดที่ 2 เทศบาล/เมืองพัทยานำแผนชุมชนนำมาบรรจุในแผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2561 - 2565) เฉพาะปี พ.ศ. 2565

หน่วยที่ 2 การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละของข้อร้องทุกข์/ร้องเรียน ต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ดำเนินการสำเร็จลุล่วง

ตัวชี้วัดที่ 4 ช่องทางการสื่อสารที่หลากหลาย เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนที่จะติดต่อสอบถามหรือขอข้อมูล หรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ตัวชี้วัดที่ 5 การประเมินความพึงพอใจของประชาชน ณ จุดบริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Citizen Feedback)

ตัวชี้วัดที่ 6 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการดำเนินการตามมาตรการป้องกันการละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ในการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับป้ายโฆษณา

หน่วยที่ 3 ระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และการบริหารจัดการความเสี่ยง

ตัวชี้วัดที่ 7 การจัดทำรายงานการประเมินผลการควบคุมภายในระดับหน่วยงานของรัฐได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ตัวชี้วัดที่ 8 ผู้ตรวจสอบภายในปฏิบัติงานตรวจสอบได้อย่างมีประสิทธิภาพตามหลักเกณฑ์ฯ ที่กระทรวงการคลังกำหนด

ตัวชี้วัดที่ 9 การบริหารจัดการความเสี่ยงระดับหน่วยงานของรัฐได้อย่างมีประสิทธิภาพตามมาตรฐานและหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังกำหนด

หน่วยที่ 4 การดำเนินงานตามนโยบายของจังหวัด

ตัวชี้วัดที่ 10 - 11 จำนวน 2 ตัวชี้วัด การประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายของจังหวัด (พ.ศ. 2565)

ด้านที่ 2 การบริหารงานบุคคลและกิจการสภา

หน่วยที่ 1 ความสอดคล้องเชิงยุทธศาสตร

หน่วยย่อยที่ 1 แผนพัฒนาท้องถิ่น

ตัวชี้วัดที่ 12 ร้อยละของค่าใช้จ่ายด้านการบริหารงานบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ตัวชี้วัดที่ 13 ร้อยละของบุคลากรในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับการพัฒนาประจำปี

หน่วยที่ ๒ ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรบุคคล

ตัวชี้วัดที่ 14 ระดับ ความสำเร็จของการบันทึกปรับปรุง และแก้ไขข้อมูลทะเบียนประวัติอิเล็กทรอนิกส์ของข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาลูกจ้าง ในระบบศูนย์บริการข้อมูลบุคลากรท้องถิ่นแห่งชาติ (LHR) ให้ถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน

หน่วยที่ 3 การดำเนินกิจการสภาท้องถิ่น

ตัวชี้วัดที่ 15 การบันทึกข้อมูลผู้บริหารท้องถิ่นและสมาชิกสภาท้องถิ่น ในระบบศูนย์ข้อมูลเลือกตั้งผู้บริหาร สมาชิกสภาท้องถิ่น และทะเบียน อปท.ให้ ถูกต้องครบถ้วน และเป็นปัจจุบั น (อบจ. เทศบาล อบต. และเมืองพัทยา)

ตัวชี้วัดที่ 16 การพัฒนาความรู้ให้แก่สมาชิกสภาท้องถิ่นในรอบปีที่ผ่านมา

ตัวชี้วัดที่ 17 การกำหนดสมัยประชุมสามัญ การเรียกประชุมสภาสมัยสามัญ และการนัดประชุมสภาสมัยสามัญ ประจำปี 2565

ตัวชี้วัดที่ 18 การเสนอและส่งสำเนาร่างข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

ตัวชี้วัดที่ 19 การเสนอและพิจารณาคำแปรญัตติร่างข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2566

ตัวชี้วัดที่ 20. การจัดทำรายงานการประชุมสภาท้องถิ่น

ด้านที่ 3 การบริหารงานการเงินและการคลัง

หน่วยที่ 1 การจัดเก็บรายได้

ตัวชี้วัดที่ 21 ร้อยละของจำนวนผู้ชำระภาษีและค่าธรรมเนียมบำรุงองค์การบริหารส่วนจังหวัดจากการค้าน้ำมัน ยาสูบ และผู้เข้าพักในโรงแรม เปรียบเทียบกับจำนวนผู้ที่อยู่ในข่ายต้องชำระ ในปี 2565

ตัวชี้วัดที่ 22 มีการเร่งรัดติดตามทวงถามผู้ค้างชำระภาษีและค่าธรรมเนียมบำรุงองค์การบริหารส่วนจังหวัดจากการค้าน้ำมัน ยาสูบ และผู้เข้าพักในโรงแรม เพื่อให้ชำระเงินภายในระยะเวลาที่กำหนด

ตัวชี้วัดที่ 23 มีการออกข้อบัญญัติ /เทศบัญญัติและมีการเก็บเงินค่าธรรมเนียม ค่าปรับค่าใบอนุญาตตามที่กำหนดไว้ในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ

ตัวชี้วัดที่ 24 มีแผนที่แม่บทที่แสดงแนวเขตการปกครองและรูปแปลงที่ดิน เพื่อใช้ในการสำรวจและจัดทำแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน

ตัวชี้วัดที่ 25 ร้อยละของจำนวนผู้เสียภาษีป้ายที่เพิ่มขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2564

ตัวชี้วัดที่ 26 ร้อยละของจำนวนเงินภาษีป้ายที่เพิ่มขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2564

ตัวชี้วัดที่ 27 ร้อยละของจำนวนผู้เสียค่าธรรมเนียม ค่าปรับและใบอนุญาตตาม พ.ร.บ.สาธารณสุข พ.ศ. 2535 ที่เพิ่มขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2564

ตัวชี้วัดที่ 28 ร้อยละของจำนวนเงินค่าธรรมเนียม ค่าปรับและใบอนุญาตตาม พ.ร.บ.สาธารณสุข พ.ศ.2535 ที่เพิ่มขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2564

ตัวชี้วัดที่ 29 ร้อยละของจำนวนผู้เสียภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ที่เพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับปี 2564

ตัวชี้วัดที่ 30 ร้อยละของจำนวนผู้ค้างชำระภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเมื่อเปรียบเทียบกับปี 2564

ตัวชี้วัดที่ 31 มีการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนในการรับชำระภาษี

หน่วยที่ ๒ การจัดทำงบประมาณ

ตัวชี้วัดที่ 32 การตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปี(ค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

หน่วยที่ 3 การบริหารงบประมาณรายจ่าย การจัดทำบัญชี และรายงานการเงิน

หน่วยย่อยที่ 3.1 การบริหารงบประมาณรายจ่าย

ตัวชี้วัดที่ 33 การประหยัดงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีการจัดซื้อจัดจ้างทุกวิธีและมีเงินเหลือจ่ายจากการจัดซื้อจัดจ้าง เฉพาะค่าครุภัณฑ์ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง (รวมเงินกัน)

ตัวชี้วัดที่ 34 การใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายค่าครุภัณ ฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้างพิจารณาจากการเบิกจ่ายงบประมาณพ.ศ. 2565

ตัวชี้วัดที่ 35 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถเบิกจ่ายงบประมาณ เงินอุดหนุนสำหรับการดำเนินการในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเป็นการเฉพาะ (อุดหนุนเฉพาะกิจ) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

หน่วยย่อยที่ 3.2 การจัดทำบัญชีและรายงานการเงิน

ตัวชี้วัดที่ 36 การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ในระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(e-LAAS)

ตัวชี้วัดที่ 37 การปิดบัญชีและจัดทำรายงานการเงินในระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (e-LAAS) ประจำปี 2565

หน่วยที่ 4 บำเหน็จ บำนาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น

ตัวชี้วัดที่ 38 การส่งเงินสมทบกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น (ก.บ.ท.)ประจำปีงบประมาณ 2565 ครบถ้วนถูกต้องตามอัตราและระยะเวลาทีกฎหมายกำหนด (ภายในเดือนธันวาคม2564)

หน่วยที่ 5 ผลสัมฤทธิ์การบริหารงานการเงินและการคลัง

ตัวชี้วัดที่ 39 การทักท้วงด้านการพัสดุประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จากหน่วยงานที่มีหน้าที่ตรวจสอบ

ตัวชี้วัดที่ 40 การทักท้วงด้านการจัดทำงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมจากหน่วยงานที่มีหน้าที่ตรวจสอบ

ตัวชี้วัดที่ 41 มีการทักท้วงด้านการเบิกจ่ายเงินประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จากหน่วยงานที่มีหน้าที่ตรวจสอบ

ตัวชี้วัดที่ 42 มีการดำเนินการตามข้อทักท้วงของหน่วยที่ตรวจสอบและดำเนินการแจ้งให้ทราบครบทุกเรื่อง (ด้านงบประมาณ/พัสดุ/การเบิกจ่ายเงิน/การจัดเก็บรายได้)

ด้านที่ 4 การบริการสาธารณะ

หน่วยที่ 1 ด้านโครงสร้างพื้นฐาน

หน่วยย่อยที่ 1.1 ถนน ทางเดิน และทางเท้า

ตัวชี้วัดที่ 43 ร้อยละของการซ่อมแซม/ปรับปรุง/ต่อเติมถนน ในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามรายงานผลการตรวจสอบถนนประจำปี

ตัวชี้วัดที่ 44 ร้อยละของถนนในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้ลงทะเบียนเป็นทางหลวงท้องถิ่นถึงปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

ตัวชี้วัดที่ 45 ร้อยละของความยาวถนนลาดยาง/คอนกรีตต่อความยาวของถนนทั้งหมดในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ณ ปีงบประมาณพ.ศ. 2565)

ตัวชี้วัดที่ 46 การจัดทำฐานข้อมูลเพื่อวิเคราะห์การจัดการโครงสร้างพื้นฐาน

หน่วยย่อยที่ 1.2 ไฟฟ้าสาธารณะ

ตัวชี้วัดที่ 47 ร้อยละของถนนทุกสายอยู่ในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะตามจุดเสี่ยงต่าง ๆและสามารถใช้งานได้

หน่วยย่อยที่ 1.3 หน่วยที่ 1 ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ตัวชี้วัดที่ 43 – 49

หน่วยย่อยที่ 1.4 น้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค

ตัวชี้วัดที่ 48 การตรวจสอบคุณภาพน้ำอุปโภคบริโภคขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ครบทุกระบบประปา

ตัวชี้วัดที่ 49 ร้อยละของครัวเรือนที่มีปริมาณน้ำประปาใช้เพียงพอต่อความต้องการ

หน่วยที่ 2 ด้านงานส่งเสริมคุณภาพชีวิต

หน่วยย่อยที่ 1 การศึกษา

ตัวชี้วัดที่ 50 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการส่งเสริมสนับสนุนสถานศึกษาในสังกัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

หน่วยที่ 2 ด้านงานส่งเสริมคุณภาพชีวิต

กลุ่มที่ 2 การบริหารจัดการสถานศึกษา

ตัวชี้วัดที่ 51 โรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการบูรณาการการจัดการเรียนรู้ หรือจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการดำรงชีวิต คุณธรรม จริยธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต

หน่วยย่อยที่ 2 สาธารณสุข

ตัวชี้วัดที่ 52 จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการส่งเสริมสุขภาพการป้องกันและควบคุมโรคต่าง ๆ รวมถึงการเตรียมความพร้อมการรับมือโรคติดต่อโรคอุบัติใหม่ให้แก่ประชาชน(ไม่ใช่การให้ความรู้)

ตัวชี้วัดที่ 53 จำนวนแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการเพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนในการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค

ตัวชี้วัดที่ 54 การบริหารจัดการการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า

ตัวชี้วัดที่ 55 จำนวนหน่วยบริการสาธารณสุขที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการหรือสนับสนุนในการดูแลสุขภาพประชาชน

ตัวชี้วัดที่ 56 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการดำเนินการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบกฎหมายว่าด้วยการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ

ตัวชี้วัดที่ 57 องค์กรปกครองท้องถิ่นมีการดำเนินงานการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม EHA 1000 – 4000

ตัวชี้วัดที่ 58 องค์กรปกครองท้องถิ่นมีการดำเนินงานการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม EHA 5000 – 9000

หน่วยย่อยที่ 3 ส่งเสริมและพัฒนาคนพิการและผู้ด้อยโอกาส/คนไร้ที่พึ่ง

ตัวชี้วัดที่ 59 จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตคนพิการ (นอกเหนือจากการจ่ายเบี้ยความพิการ)

ตัวชี้วัดที่ 60 การจัดทำสิ่งอำนวยความสะดวกภายในอาคารสถานที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีสิ่งอำนวยความสะดวกขั้นพื้นฐานสำหรับคนพิการ

หน่วยย่อยที่ 4 ส่งเสริมผู้สูงอายุ

ตัวชี้วัดที่ 61 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้จัดทำกิจกรรมตามมาตรฐานการสงเคราะห์ผู้สูงอายุตามองค์ประกอบ 5 ด้าน

ตัวชี้วัดที่ 62 การจัดทำฐานข้อมูลผู้สูงอายุและคนพิการในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ตัวชี้วัดที่ 63 การจัดทำฐานข้อมูลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในเขตพื้นที่

หน่วยย่อยที่ 5 พัฒนาเด็กและเยาวชน

ตัวชี้วัดที่ 64 จำนวนลานกีฬา/สนามกีฬา ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการจัดให้มี เพื่อให้ประชาชนได้ใช้ในการแข่งขันกีฬาหรือออกกำลังกาย

ตัวชี้วัดที่ 65 จำนวนกิจกรรมหลักเพื่อการส่งเสริมกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

หน่วยที่ 3 ด้านการวางแผนการส่งเสริมการลงทุน พาณิชยกรรมและการท่องเที่ยว

หน่วยย่อยที่ 1 ส่งเสริมอาชีพ

ตัวชี้วัดที่ 66 จำนวนกิจกรรมที่ส่งเสริมการประกอบอาชีพ นอกเหนือจากการฝึกอบรม

หน่วยย่อยที่ 2 ส่งเสริมการท่องเที่ยว

ตัวชี้วัดที่ 67 สนับสนุนหรือจัดให้มีการโฆษณา/ประชาสัมพันธ์ให้แก่นักท่องเที่ยว

หน่วยย่อยที่ 3 ส่งเสริมการตลาด

ตัวชี้วัดที่ 68 การจัดทำฐานข้อมูลตลาด

ตัวชี้วัดที่ 69 การพัฒนาเพื่อยกระดับตลาดที่อยู่ในสังกัดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ได้มาตรฐานใน 7 ด้าน

หน่วยที่ 4 ด้านศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ศาสนา และภูมิปัญญาท้องถิ่น

หน่วยย่อยที่ 1 ภูมิปัญญาท้องถิ่น

ตัวชี้วัดที่ 70 อปท. จัดทำฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นและเผยแพร่ให้ประชาชนได้นำไปใช้ประโยชน์

หน่วยที่ 5 ด้านการจัดระเบียบชุมชน สังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อย

หน่วยย่อยที่ 1 การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

ตัวชี้วัดที่ 71 การจัดทำและดำเนินงานตามแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ตัวชี้วัดที่ 72 จำนวนกิจกรรมที่ดำเนินการเพื่อป้องกันและดูแลความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน

ตัวชี้วัดที่ 73 การบริหารจัดการและดำเนินงานศูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัยทางถนนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ศปถ. อปท.)

ตัวชี้วัดที่ 74 การส่งเสริมความปลอดภัยในการสวมหมวกนิรภัยของเด็กปฐมวัยและผู้ปกครองในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

หน่วยย่อยที่ 2 ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

ตัวชี้วัดที่ 75 จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่

หน่วยที่ 6 ด้านการบริหารจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม

หน่วยย่อยที่ 1 ทรัพยากรธรรมชาติ

ตัวชี้วัดที่ 76 การกำจัดผักตบชวาและวัชพืชในแหล่งน้ำสาธารณะ

หน่วยย่อยที่ 2 น้ำเสีย

ตัวชี้วัดที่ 77 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดทำฐานข้อมูลสภาพปัญหาน้ำเสียในพื้นที่

ตัวชี้วัดที่ 78 เทศบาลออกเทศบัญญัติควบคุมให้อาคาร หมู่บ้านจัดสรรบ้านเรือน ที่พักอาศัย ติดตั้งบ่อดักไขมันและระบบน้ำเสียเฉพาะพื้นที่หรือระบบบำบัดน้ำเสียชุมชน

หน่วยย่อยที่ 3 ขยะ

ตัวชี้วัดที่ 79 จำนวนโครงการ/กิจกรรมของกลุ่มอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.) เพื่อขับเคลื่อนการจัดการเรื่องขยะมูลฝอย

ตัวชี้วัดที่ 80 การเก็บขนและกำจัดขยะแบบแยกประเภท

ตัวชี้วัดที่ 81 จำนวนหมู่บ้าน/ชุมชนในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจัดทำนวัตกรรมท้องถิ่นที่เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน

ตัวชี้วัดที่ 82 ร้อยละของหมู่บ้าน/ชุมชนที่มีการคัดแยกขยะมูลฝอยชุมชนที่ต้นทาง

ตัวชี้วัดที่ 83 ร้อยละของครัวเรือนในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการจัดทำถังขยะเปียก ลดโลกร้อน

หน่วยย่อยที่ 4 สิ่งแวดล้อมยั่งยืน

ตัวชี้วัดที่ 84 จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พัฒนาและเพิ่มพื้นที่สีเขียวในเขตเมือง

ตัวชี้วัดที่ 85 จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5 และไฟป่าหมอกควัน

ตัวชี้วัดที่ 86 จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการเพื่อส่งเสริมการผลิต การบริโภค และการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

ตัวชี้วัดที่ 87 จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการเพื่อการส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ

ตัวชี้วัดที่ 88 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการดำเนินการประเมินเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืนโดยผ่านระบบการประเมินตนเองด้านเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน (Self-AssessmentReport: SAR)

ตัวชี้วัดที่ 89 แผนการดำเนินงาน/นโยบาย เกี่ยวกับการบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก

ตัวชี้วัดที่ 90 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจัดทำรายงานข้อมูลปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

หน่วยที่ 7 ตัวชี้วัดนำร่อง

ตัวชี้วัดที่ 92 (นำร่อง) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจัดทำรายงานข้อมูลปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ตัวชี้วัดที่ 93 (นำร่อง) จำนวนครัวเรือนในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้ดำเนินการติดตั้งบ่อดักไขมันครัวเรือน

ด้านที่ 5 ธรรมาภิบาล

หน่วยที่ 1 การบริหารราชการเพื่อป้องกันการทุจริต

ตัวชี้วัดที่ 94 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจัดทำแผน/แนวทางเพื่อการป้องกันและปราบปรามการทุจริตหรือการส่งเสริมความโปร่งใสตามหลักธรรมาภิบาลในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ตัวชี้วัดที่ 95 การส่งเสริมด้านคุณธรรมและจริยธรรมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งการส่งเสริมและพัฒนาให้ข้าราชการและพนักงานส่วนท้องถิ่นรักษาวินัย

หน่วยที่ ๒ การส่งเสริมบทบาทและการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน

ตัวชี้วัดที่ 96 การส่งเสริมบทบาทและการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน (Participation)

หน่วยที่ 3 การสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ

ตัวชี้วัดที่ 97 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นถูกชี้มูลความผิดจากหน่วยตรวจสอบ

ตัวชี้วัดที่ 98 ระดับคะแนนและระดับผลการประเมินการเข้าร่วมการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภ า ค ร ั ฐ ( Integrity and TransparencyAssessment:ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ข้อมูลข่าวสาร ประจำเดือน